
นวนิยายในประเทศไทยเมื่อก่อนได้รับความนิยมมากในสมัยที่ยังไม่มี tv ยังใช้วิทยุในการรับรูปข่าวสาร รวมถึงฟังนวนิยายต่างๆผ่ายทางเสียงโดยเล่าเรื่องให้เห็นภาพแน่นอนว่าการจะเล่าเรื่องให้ได้ออกมาดีในเรื่องของเรื่องราวต้องเขียนออกมาดีมีความน่าสนใจแล้วสื่อออกมารได้เยี่ยมวันนี้เลนจะมาแนะนำเรื่องที่ได้รับความนิยมจากเมื่อก่อนจนถึงปัจจุบันก็ได้ยินชื่ออยู่มีดังต่อไปนี้
ข้างหลังภาพ โดยเรื่องนี้เป็นบทประพันธ์ของศรีบูรพา หรือในอีกชื่อว่า กุหลาย สายประดิษฐ์ เป็นคนที่มีชื่อเสียงมากๆในสมัยยุคนั้นในการตีพิมพ์แรกๆได้ถูกนำผลงานลงในหนังสือพิมพ์ประชาชาติรายวัน ในปี 2479 โดยเรื่องนี้จะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับความรักที่มีความต่างในเรื่องของวัย สถานนะ และในการตีพิมพ์ยังได้ใช้ภาษอังกฤษที่มีความหมายดีน่าอ่านเข้าใจง่าย อีกทั้งยังมีวลีที่สวยงามคนที่ได้อ่านก็มักจะชอบในความหมายที่ผู้เขียนสื่อ ได้จากความนิยมได้จากการที่หนังสือเล่มนี้ได้ถูกนำมาตีพิมพ์มากกว่า 39 ครั้ง สำหรับคนที่ชอบแนววรรณศิลป์ยังยกให้เรื่องนี้เป็นหนังสือที่ดีที่สุดจนถูกนำเอาไปทำเป็นละครเวที ละคร TV ภาพยนตร์ อีกทั่งยังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากอีกด้วย
แรงบันดาลใจของเรื่องนี้มาจากการที่ตัวเค้าไปมีประสบการณ์ในต่างประเทศที่ญี่ปุ่นเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2479 อีกส่วนก็มากจากความคุ้นเคยกับเจ้านายราชสกุลวรวรรณหลายพรองค์ด้วยความที่เป็นพี่น้องกันเพราะเหตุนั้น หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ เจ้าของหนังสือพิมพ์ประชาชาติรายวัน ได้การปรึกษาว่าตัวละครหม่อมราชวงศ์กีรติน่าจะถอดแบบมาจากหม่อมเจ้าบรรเจิดวรรณวรางค์ วรวรรณ เริ่มแรกเรื่องนี้ได้ตีพิมพ์ในวันที 8 ธันวาคม พ.ศ.2479 ใช้เวลาการแต่งจนถึงบทสุดท้ายคือบทที่ 12 ในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2480 โดยเรื่องราวของหนังสือเล่มนี้เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่นท่าเรือโกเบต่อมาได้ตีพิมพ์ครั้งแรกโดย สำนักงานนายเทพปรีชา ศรีบูรพา หลังจากที่ได้รับการตีพิมพ์ก็ได้แตกเพิ่มไปอีก 7 บท รวมแล้วเป็น 19 บท โดยอีกบทที่แต่งเพิ่มเป็นเรื่องราวที่อยู่ในประเทศไทยหลังจากกระแสตอบรับดีต่อมาในปี 2486 ได้เพิ่มเนื้อเรื่องสั้นขึ้นชื่อว่านพพร-กีรติ” เป็นจดหมายรัก โดยเขียนขึ้นในหน้า 255-273 ของหนังสือรวมเรื่องสั้น ผาสุก ของสำนักการพิมพ์อุดม ซึ่งต่อมาได้นำไปรวมในเล่นเรื่องข้างหลังภาพ ในการตีพิมพ์ครั้งที่ 3 ในปัจจุบันเรื่องนี้ได้มีการทำเป็นละครมากมายหลายครั้ง แน่นอนว่าก็ได้รับการตอบรับที่ดีมาจนถึงปัจจุบัน
Comments are closed.